Festivals in Surat ThaniFestival >> Chak Phra Festival (Thod Pha Pa) (งานประเพณีชักพระทอดผ้าป่า) (SuratThani) Makham Tia, Surat Thani 84000 Festival >> Chak Phra Festival at Daytime (ประเพณีชักพระ กลางวัน) (SuratThani) The Chak Phra Festival commemorates the return of the Buddha to earth from heaven and his greeting by the crowds. Chak Phra takes place annually after the end of the 3 month rain retreat in October. It is celebrated all over the south but in Surat Thani it is the biggest. It is Chak Phra Festivals on land and on the Tapi River. Before Chak Phra Day, on the night there are build the screen of Buddha's story around the city and celebrate its all day all night. On land, the splendidly adorned floats are pulled across the town by the participants. At the same time, on water a float decorated in colorful Thai design of a float made to carry the Buddha image. Chak Phra Festivals then concludes with an exciting boat race and traditional games. Makham Tia, Surat Thani 84000 Festival >> Chak Phra Festival at night (ประเพณีชักพระ กลางคืน) (SuratThani) Makham Tia, Surat Thani 84000 Festival >> Chak Phra Festivals on the Tapi (ประเพณีชักพระในแม่น้ำตาปี) (SuratThani) Makham Tia, Surat Thani 84000 Festival >> Nasarn School Rambutan (เงาะโรงเรียนนาสาร) (SuratThani) Nasarn, Surat Thani Buffalo Fighting >> Buffalo Fighting Samui (สนามชนควาย สมุย) (MaeNam) Rates: 80 to 400 Baht Mae Nam, Koh Samui, Surat Thani 84330 "ประเพณีชักพระหรือลากพระ" จังหวัดสุราษฏร์ธานีได้มีงานประเพณีชักพระหรือลากพระ อาจจะเรียกว่างานบุญเดือน 11 ซึ่งก็เป็นเวลาเดียวกับเทศกาลออกพรรษา ซึ่งทางจังหวัดสุราษฎรธานีได้จัดงานอย่างยิ่งใหญ่เป็นประจำของทุกปี ในวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 และได้จัดให้มีการแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานฯ ณ ริมแม่น้ำตาปีขึ้นด้วยนักท่องเที่ยวจะได้พบกับการจัดทำพุ่มผ้าป่าและเรือพนมพระซึ่งมี “หนึ่งเดียวในโลก”
"กีฬาพื้นเมือง กีฬาชนควาย" กีฬาชนควายเป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่ขึ้นชื่อของจังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยเฉพาะในท้องที่อำเภอเกาะสมุยเป็นที่นิยมกันมากและมีลักษณะคล้ายกับกีฬาชนวัวของจังหวัดสงขลาการชนควายเริ่มมีขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด ทราบแต่ว่าสมัยที่เกาะสมุยขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราชที่เกาะนี้มีควายมากกว่าสัตว์เลี้ยงชนิดอื่นๆ เมื่อเป็นเช่นนี้การที่ราษฎรเห็นควายเพริดเที่ยวชนกัน ขวิดกัน จึงน่าจะเป็นต้นเค้าของการนำควายมาชนกันเกิดเป็นกีฬาชนควายอย่างเช่นปัจจุบัน "การเลี้ยงควายชน" จะต้องเลี้ยงดูอย่างพิถีพิกันเช่นเดียวกับการเลี้ยงวัวชน ควายต้องได้ออกกำลังสม่ำเสมอ ได้กินอาหารที่มีประโยชน์ และจะต้องได้มีโอกาสฝึกชนในบางครั้ง นอกจากนี้จะต้องระมัดระวังไม่ให้ใครเข้าใกล้ โดยเฉพาะฝ่ายตรงข้ามในระยะเวลาใกล้ๆจะถึงเวลาที่จะชน เพราะอาจจะมีผู้วางยาทำให้เสียควายได้ ก่อนการชนจะมีการเปรียบคู่ชน โดยเจ้าของควายทั้งสองจะต้องไปดูควายของฝ่ายตรงข้าม หากไม่ได้เปรียบหรือเสียเปรียบกันมากก็จะยินยอมให้ชนกันได้แต่เดิมการชนควาย ชนกันหลังจากที่เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว สนามชนควายก็คือนาข้าวนั่นเอง ส่วนใหญ่จะนัดชนกันในโอกาสงานประจำปีของวัดต่างๆ หรืองานตรวจเลือกทหาร แต่ในปัจจุบันการชนควายในสนามทุ่งนาหมดไป เนื่องจากมีผู้เปิดบ่อนชนควายขึ้นซึ่งชนกันได้ทุกฤดูกาลเมื่อใกล้ถึงวันจะชน การดูแลรักษาควายจะต้องพิถีพิถันมากยิ่งขึ้น เจ้าชองต้องนำควายไปเลี้ยงดูใกล้ๆกับสนาม เมื่อถึงเวลาชนจะมีหมอไสยศาสตร์ของแต่ละฝ่ายทำพิธีกันอย่างเอาจริงเอาจัง พิธีจะหมดสิ้นลงเมื่อปล่อยควายเข้าชนกันแล้ว การชนจะยุติลงเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแพ้วิ่งหนีออกจากสนามความเชื่อเกี่ยวกับ ควายชนก็เหมือนๆกับวัวชน คือเชื่อเรื่องลักษณะของควายที่มีลักษณะต้องตามตำราว่าจะได้เปรียบควายคู่ชน ที่มีลักษณะด้อยกว่า และควายที่มีลักษณะดีจะนำความเป็นศิริมงคลมาสู่ผู้เลี้ยง นอกจากนี้ยังมีความเชื่ออื่นๆอีกมากการชนควายมีชนกันทั่วไปในอำเภอที่มีการ ทำนาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่ที่มีชนกันอย่างเป็นล่ำเป็นสันก็เฉพาะที่อำเภอเกาะสมุยเท่านั้น |
New to t-Globe?
Register for free to get the full power of this web site!
Registered members will be able to: |
|